วันอาทิตย์ที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2559

พระพุทธศาสนาเป็นศาสตร์แห่งการศึกษา

  ความหมายของคำว่าการศึกษา     คำว่า การศึกษามาจากคำว่า สิกขาโดยทั่วไปหมายถึง กระบวนการเรียน “ “การฝึกอบรม” “การค้นคว้า” “การพัฒนาการและ การรู้แจ้งเห็นจริงในสิ่งทั้งปวงจะเห็นได้ว่า การศึกษาในพระพุทธศาสนามีหลายระดับ ตั้งแต่ระดับต่ำสุดถึงระดับสูงสุด เมื่อแบ่ อ่านเพิ่มเติม

พระพุทธศาสนาเน้นการฝึกหัดอบรมตนเอง การพึ่งตนเองและการมุ่งอิสรภาพ

    การฝึกอบรมตน หมายถึง การฝึกตนเองให้กระทำความดีทั้งทางกาย วาจา และใจ ซึ่งถือว่าเป็นผู้พัฒนาตนเอง ไม่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนต่อตนเอง ครอบครัว และสังคมโดยรวม โดยอาศัยหลักของไตรสิกขาดังนี้  1. ศีล เป็นการฝึกการควบคุมพฤติกรรมทางกาย และวาจา เครื่องมือที่ใช้ฝึกศีลคือ วินัย เพราะวินัยเป็นตัวการจัดเตรียมชีวิตให้อยู่ในสภาพที่เอื้อต่อการพัฒนา โดยการจัดระเบียบความเป็นอยู่ การดำเนินชีวิต และการอยู่ร่ อ่านเพิ่มเติม

การคิดตามนัยแห่งพระพุทธศาสนาและการคิดแบบวิทยาศาสตร์

       การคิดตามนัยแห่งพระพุทธศาสนาและการคิดแบบวิทยาศาสตร์นั้น มีความสอดคล้องกันเป็นอันมากจนมีบางคนกล่าวว่า พระพุทธศาสนาเป็นวิทยาศาสตร์ทางจิตใจ (Spiritual / Mental Science) และโดยเหตุที่พระพุทธศาสนาอุบัติขึ้นในโลกมนุษย์ก่อนวิทยาศาสตร์กว่า 2 พันปี จึงน่าจะกล่าวได้ว่าหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์ซึ่งเกิดขึ้นภายหลัง ไปสอดคล้องกับหลักการแล อ่านเพิ่มเติม

หลักการของพระพุทธศาสนากับหลักวิทยาศาสตร์

       หลักการของพระพุทธศาสนากับหลักการวิทยาศาสตร์ 1.1  ในด้านความเชื่อ วิทยาศาสตร์ถือหลักว่าก่อนจะเชื่ออะไรนั้นจะต้องมีการพิสูจน์ให้เห็นจริงได้เสียก่อน วิทยาศาสตร์เชื่อในเหตุผล ไม่เชื่ออะไรลอย ๆ และต้องการหลักฐานมายืนยัน วิทยาศาสตร์ไม่อาศัยศรัทธาแต่อาศัยเหตุผล เชื่อการทดลองว่าให้ความจริงแก่เราได้ แต่ไม่เชื่อการดลบันดาลของสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เพราะทุกอย่างดำเนินอย่ อ่านเพิ่มเติม

ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา

   ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา สามารถวิเคราะห์ได้ดังต่อไปนี้   1.  พระพุทธเจ้าประทานความเป็นใหญ่แก่สงฆ์ เมื่อมีผู้มาขอบวชเพิ่มจำนวนมากขึ้น พระพุทธเจ้าทรงเลิกการประทานอุปสมบทด้วยพระองค์เอง ทรงประทานความเป็นใหญ่ให้พระสงฆ์ดำเนินการอุปสมบทเอง โดยพระสงฆ์เป็นผู้คัดเลื อ่านเพิ่มเติม

พระพุทธศาสนาเน้นการพัฒนาศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้อง

   พระพุทธศาสนาส่งเสริมทั้งปัญญาที่หมายถึง ความรู้ทั่ว รู้ชัด ได้แก่ ความเข้าใจ ความหยั่งรู้ เหตุผล และศรัทธา คือ ความเชื่อ แต่ศรัทธาในทางพระพุทธศาสนาเน้นให้เชื่ออย่างมีปัญญา คือ เชื่อได้แต่ให้เชื่ออย่างมีเหตุมีผล และตั้งอยู่บนพื้นฐานของความเป็นจริงของชีวิต ซึ่งอาจจำแนกได้คือ     1. ศรัทธาเป็นเพียงขั้นหนึ่งในกระบว อ่านเพิ่มเติม

พระพุทธศาสนามีข้อปฏิบัติที่ยึดทางสายกลาง

    พระพุทธศาสนามีข้อปฏิบัติที่ยึดทางสายกลาง มัชฌิมาปฏิปทา หมายถึง ทางสายกลาง, ข้อปฏิบัติเป็นกลาง ๆ

ไม่หย่อนจนเกินไปและไม่ตึงจนเกินไป นั่นคือการรู้จักปฏิบัติตนให้พอดี ให้รู้จักประมาณ ซึ่งเรียกว่า มรรคมีองค์ 8 ประกอบด้วย    1. สัมมาทิฏฐิ คือ ความเห็นชอบ  2. สัมมาสังกัปปะ คือ ดำริช อ่านเพิ่มเติม